ภาพรวมคนจนเป้าหมายในปี 2562

คนจนคน

จากประชากรสำรวจคน

ดาวสูง สัดส่วนคนจนน้อย ดาวต่ำ สัดส่วนคนจนมาก
จำนวนคนจนใน
"คนจนเป้าหมาย" ใน คือ คนจนที่ต้องการความช่วยเหลือเร่งด่วน เนื่องจากเป็นคนที่ได้รับการสำรวจจาก ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ที่ถูกนำมาวิเคราะห์ด้วยดัชนีความยากจนหลายมิติว่ายากจน และอาจมาลงทะเบียนว่าจนอีกด้วย (register-based) จาก ข้อมูลผู้ลงทะเบียนสวัสดิการแห่งรัฐ กระทรวงการคลัง อ่านเพิ่มเติม สำหรับข้อมูลปี 2567 เป็นการบูรณาการข้อมูลระหว่าง จปฐ 2566 และ บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ปี 2565
ครัวเรือนที่ได้รับการสำรวจ (จปฐ)
ครัวเรือนที่ยากจนตามดัชนีความยากจนหลายมิติ (MPI)
คนที่ได้รับการสำรวจ (จปฐ)
คนจนเป้าหมายตามดัชนีความยากจนหลายมิติ (MPI)
"คนจนเป้าหมาย" ในครัวเรือน ที่ไม่มีผู้ขึ้นทะเบียนบัตรสวัสดิการ
สัดส่วนคนจนเป้าหมายใน
สัดส่วน"คนจนเป้าหมาย" คือ จำนวน"คนจนเป้าหมาย" เทียบร้อยละกับจำนวนคนที่ได้รับการสำรวจ จปฐ. ทั้งหมด อ่านเพิ่มเติม
สัดส่วนคนจนเป้าหมาย
ความยากจนสามารถวัดได้ มิติ
ความยากจนสามารถวัดได้จากดัชนีความยากจนหลายมิติ หรือ ดัชนี MPI (Multidimensional Poverty Index) ที่พิจารณาจาก มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านความเป็นอยู่ ด้านการศึกษา ด้านรายได้ และด้านการเข้าถึงบริการรัฐ โดยที่คนจนเป้าหมาย 1 คน มีปัญหาได้มากกว่า 1 ด้าน อ่านเพิ่มเติม
ดาวแสดงความต้องการพื้นฐานมิติ
ใน
พื้นที่ดาวรุ่ง
เมื่อเปรียบเทียบกันปีต่อปีแล้ว มีพื้นที่ไหนที่มีพัฒนาการไปในทิศทางที่ดีขึ้น และพื้นที่ไหนที่ต่ำลง โดยพื้นที่ที่มีพัฒนาการสูงสุด คือ พื้นที่ที่มีสัดส่วนคนจนเป้าหมายลดลงมากที่สุด และพื้นที่เป้าหมาย คือ พื้นที่ที่มีสัดส่วนคนจนเป้าหมายลดลงน้อยที่สุด
พื้นที่ที่มีพัฒนาการสูงสุด
พื้นที่เป้าหมาย
เปรียบเทียบพัฒนาการของคนจนเป้าหมาย แยก มิติ
แสดงการเปรียบเทียบพัฒนาการของจำนวนคนจนเป้าหมายใน แยกรายมิติ (สุขภาพ ความเป็นอยู่ การศึกษา รายได้ และการเข้าถึงบริการของรัฐ) โดยความสูงของกราฟแท่งสีเหลืองแสดงจำนวนคนจนเป้าหมายในปีที่เลือกเทียบกับปีก่อนหน้า โดยแท่งยิ่งสูง ยิ่งดี อ่านเพิ่มเติม
คนจนเป้าหมายมีกี่คน
อยู่ที่ไหนกันบ้าง
แสดงการกระจายตัวของคนจนเป้าหมายแยกรายพื้นที่ พื้นที่สีเข้มแสดงถึงจำนวนคนจนเป้าหมายที่มีเยอะกว่าพื้นที่สีอ่อน โดยมีคนจนเป้าหมายมากที่สุด ในขณะที่มีคนจนเป้าหมายน้อยที่สุด
พัฒนาการของคนจนเป้าหมายตามความจำเป็นพื้นฐานที่ยังขาดแคลน
แสดงการเปรียบเทียบพัฒนาการของจำนวนคนจนเป้าหมายในแยกตามความจำเป็นพื้นฐานที่ยังขาดแคลน 6 หมวด โดยความสูงของกราฟแท่งสีเหลืองแสดงจำนวนคนจนเป้าหมายในปีที่เลือกเทียบกับปีก่อนหน้า โดยแท่งยิ่งต่ำ ยิ่งดี
จำนวนคนจนเป้าหมายในครัวเรือนที่มีเด็กและเยาวชนตกเกณฑ์
แสดงจำนวนคนจนเป้าหมายที่มีสมาชิกในครัวเรือนเป็นเด็กและเยาวชนที่ตกเกณฑ์ 4 ด้าน ได้แก่ น้ำหนักเด็กแรกเกิดต่ำกว่าเกณฑ์ เด็กเล็กไม่ได้รับการเตรียมพร้อมก่อนวัยเรียน เด็กอายุ 6-14 ปี ไม่ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี และเด็กโตไม่ได้เรียนต่อ ม.4 หรือเทียบเท่า โดยจำนวนคนที่แสดงในแผนภูมิแสดงถึงอัตราส่วนของจำนวนคน ว่าในคนที่ตกเกณฑ์ 100 คนนั้น จะพบว่ามีคนจนเป้าหมายจำนวนกี่คน

ไม่เป็น "คนจนเป้าหมาย"


เป็น "คนจนเป้าหมาย"

จากการสำรวจ คน
เป็นคนจนเป้าหมาย
หรือคิดเป็น
จากการสำรวจ คน
เป็นคนจนเป้าหมาย
หรือคิดเป็น
จากการสำรวจ คน
เป็นคนจนเป้าหมาย
หรือคิดเป็น
จากการสำรวจ คน
เป็นคนจนเป้าหมาย
หรือคิดเป็น
จำนวนคนจนเป้าหมายในครัวเรือนที่มีคนอายุ 15 ปีขึ้นไปตกเกณฑ์
แสดงจำนวนคนจนเป้าหมายที่มีสมาชิกในครัวเรือนมีปัญหา 3 ด้าน ได้แก่ คนวัยทำงานไม่สามารถอ่านเขียนคิดเลข คนวัยทำงานไม่มีอาชีพหรือรายได้ คนอายุ 60 ปีขึ้นไปไม่มีอาชีพหรือรายได้ โดยจำนวนคนที่แสดงในแผนภูมิแสดงถึงอัตราส่วนของจำนวนคน ว่าในคนที่ตกเกณฑ์ 100 คนนั้น จะพบว่ามีคนจนเป้าหมายจำนวนกี่คน

ไม่เป็น "คนจนเป้าหมาย"


เป็น "คนจนเป้าหมาย"

จากการสำรวจ คน
เป็นคนจนเป้าหมาย
หรือคิดเป็น
จากการสำรวจ คน
เป็นคนจนเป้าหมาย
หรือคิดเป็น
จากการสำรวจ คน
เป็นคนจนเป้าหมาย
หรือคิดเป็น
อื่น ๆ
แสดงจำนวนคนจนเป้าหมายในกลุ่มอื่น ๆ โดยจำนวนคนที่แสดงในแผนภูมิแสดงถึงอัตราส่วนของจำนวนคน ว่าในคนที่ตกเกณฑ์ 100 คนนั้น จะพบว่ามีคนจนเป้าหมายจำนวนกี่คน

ไม่เป็น "คนจนเป้าหมาย"


เป็น "คนจนเป้าหมาย"

จากการสำรวจ คน
เป็นคนจนเป้าหมาย
หรือคิดเป็น
จากการสำรวจ คน
เป็นคนจนเป้าหมาย
หรือคิดเป็น
จากการสำรวจ คน
เป็นคนจนเป้าหมาย
หรือคิดเป็น
จากการสำรวจ คน
เป็นคนจนเป้าหมาย
หรือคิดเป็น